TNI LOGO

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขานวัตกรรมการจัดการธุรกิจและอุตสาหกรรม (MBI)

กลุ่มวิชาการจัดการระบบการผลิตและโลจิสติกส์แบบลีน (LMS)


Master of Business Administration in Innovation of Business
and Industrial Management
( Lean Manufacturing System and Logistics Management : MBI-LMS )


Thai-Nichi Institute of Technology

Master of Business Administration in Innovation of Business and Industrial Management
Lean Manufacturing System and Logistics Management (MBI-LMS)

เป็นหลักสูตรที่มุ่งสร้างผู้บริหารภาคอุตสาหกรรมที่มีวิสัยทัศน์ สามารถมองภาพรวมการวินิจฉัยธุรกิจขององค์การภาคอุตสาหกรรม เพื่อพัฒนาความสามารถหลัก (Core Competence) และยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันขององค์การได้อย่างมีประสิทธิผล มีความสามารถในการใช้เครื่องมือสมัยใหม่เพื่อบริหารจัดการธุรกิจอุตสาหกรรม 4.0 แบบญี่ปุ่น ที่มุ่งเน้นนวัตกรรม สามารถวิเคราะห์ กำหนดกลยุทธ์ วางแผนและดำเนินการธุรกิจอุตสาหกรรมโดยอาศัยเทคโนโลยีการผลิต
แบบลีนและเครื่องจักรอัตโนมัติที่ทันสมัยและหุ่นยนต์ เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าในบริบทที่เป็นพลวัตสูงได้

+ รายละเอียดเพิ่มเติม

 สมัครเรียน  กลับหน้าหลัก

จุดเด่นของหลักสูตร

1.การบริหารธุรกิจและการผลิตสไตล์ญี่ปุ่น
2.บรรยายโดยวิทยากรที่มีชื่อสียงจากภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมทั้งในและต่างประเทศ
3.การศึกษาดูงานทั้งในและต่างประเทศ
4.การเรียนการสอนที่เน้นปฏิบัติ
5.มีห้องปฏิบัติการจำลองการผลิต

เรียนหลักสูตรนี้แล้วได้อะไร

1. การพัฒนาภาวะผู้นำเพื่อสร้างระบบธุรกิจแบบ Lean Enterprise
2. ความสามารถในการบริหารกลยุทธ์เพื่อมุ่งสู่นวัตกรรมเทคโนโลยีและยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขัน
3. การพัฒนาไปสู่ผู้บริหารสไตล์ Smart Monodzukuri
4. ได้รับใบ Certificate รับรองทักษะความสามารถในวิชาชีพด้านต่างๆ เช่น นักวิจัยและที่ปรึกษาธุรกิจ
5. ทักษะการประยุกต์ศาสตร์ทางการบริหารแบบญี่ปุ่นเข้ากับเทคโนโลยีการผลิตที่เป็นสากลภายใต้ยุคดิจิตอลเพื่อรองรับยุคอุตสาหกรรม 4.0

คุณสมบัติ


สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทุกสาขาหรือคุณสมบัติอื่นเทียบเท่า
หากมีประสบการณ์การทำงานอย่างน้อย 2 ปี จะได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษ

ค่าลงทะเบียนตลอดหลักสูตร


192,000 บาท

**ไม่รวมค่าใช้จ่ายในการศึกษาดูงานและรายวิชาปรับพื้นฐาน**

รายละเอียดเพิ่มเติม

วัน-เวลาเรียน


วันเสาร์ - วันอาทิตย์
เวลา 9.00 – 18.00 น.

โอกาสในการประกอบอาชีพหลังจากสำเร็จการศึกษา

1. บริหารสมัยใหม่ ที่สามารถบริหารกลยุทธ์ของธุรกิจอุตสาหกรรมเพื่อมุ่งสู่นวัตกรรมและเทคโนโลยีการผลิตและโลจิสติกส์แบบลีน
2. นักอุตสาหกรรม ที่มีความรู้ในธุรกิจอุตสาหกรรม พัฒนาธุรกิจเดิม ออกแบบและสร้างธุรกิจอุตสาหกรรมใหม่ในเชิงความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม
3. ผู้จัดการและผู้อำนวยการด้านการผลิต โดยมีความรู้ในด้านการเพิ่มผลิตภาพด้วยเทคโนโลยีระบบการผลิตและโลจิสติกส์แบบลีน ระบบคุณภาพ การสร้างมูลค่าเพิ่มและนวัตกรรมในกระบวนการทำงาน และการยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันขององค์การ
4. นักวิจัย เพื่อวินิจฉัยและแก้ไขปัญหา ปรับปรุงกระบวนการทำงาน ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์และกระบวนการทางธุรกิจใหม่ๆ เพื่อสร้างศักยภาพและพัฒนาความสามารถหลัก (Core Competence) ให้แก่องค์การ
5. ประกอบธุรกิจส่วนตัวทางด้านอุตสาหกรรมและการพัฒนานวัตกรรมด้านการจัดการอุตสาหกรรม
6. ศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นทั้งในประเทศและต่างประเทศ
7. อื่นๆ

ห้องปฏิบัติการ

ห้องปฏิบัติการ TPS SIMULATION TRAINNING
Lean Automation & Logistics Lab.

รายชื่ออาจารย์

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
  • ผศ. วิฐิณัฐ ภัคพรหมินทร์ : ผู้อำนวยการหลักสูตร
  • รศ.ดร. พิชิต สุขเจริญพงษ์
  • รศ. รังสรรค์ เลิศในสัตย์
  • ดร. คงศักดิ์ สระศรีสม
อาจารย์ประจำหลักสูตร
  • ผศ.ดร. สุรสิทธิ์ อุดมธนวงศ์
  • ดร. เอิบ พงบุหงอ
  • ดร. รุ่งอรุณ กระแสร์สินธุ์
  • ดร. ดอน แก้วดก
  • ผศ. วิฐิณัฐ ภัคพรหมินทร์
  • ผศ.ดร. ปัณณทัต จอมจักร์
  • ดร. เพ็ญพิมล วิไลรัตน์
  • อาจารย์ วุฒิพงษ์ ปะวะสาร
รายชื่ออาจารย์พิเศษ
  • ดร. มนัสนันท์ ปัญญาสกุลวงศ์ : ผู้เชี่ยวชาญด้านการวินิจฉัยสถานประกอบการและวินิจฉัยด้านการตลาด
  • ดร. สุพัตรา บัวแสงจันทร์ : ผู้เชี่ยวชาญด้านการวินิจฉัยสถานประกอบการและวินิจฉัยด้านบัญชีและการเงิน
  • อาจารย์ ปริญญา เร่งพินิจ : ผู้เชี่ยวชาญด้านการวินิจฉัยสถานประกอบการ และที่ปรึกษาด้าน การจัดการด้านการผลิตและ Smart Monodzukuri
  • อาจารย์ พงษ์เดช เดชนที : ผู้เชี่ยวชาญด้านการวินิจฉัยสถานประกอบการ และที่ปรึกษาด้าน การจัดการด้านการผลิต
  • อาจารย์ ภิญโญ เอกอุรุชัยเทพ : ผู้เชี่ยวชาญด้านการวินิจฉัยสถานประกอบการ และที่ปรึกษาด้าน การจัดการด้านการผลิตและ Smart Monodzukuri
  • อาจารย์ พนิดา ละออสุวรรณ : ผู้เชี่ยวชาญด้านการวินิจฉัยสถานประกอบการ
  • อาจารย์ สริยา จันทร์เพ็ญ : ผู้เชี่ยวชาญด้านการวินิจฉัยสถานประกอบการ
  • อาจารย์ สุขสิรี นีลพัธน์ : ผู้เชี่ยวชาญด้านการวินิจฉัยสถานประกอบการ และ ที่ปรึกษาด้านการจัดการแผนธุรกิจ
  • อาจารย์ ณรงค์ศักดิ์ นันทกสิกร : ผู้เชี่ยวชาญที่ปรึกษาด้าน lean Manufacturing และ Smart Monodzukuri
  • อาจารย์ เกียรติศักดิ์ เกษเสถียร : ผู้เชี่ยวชาญที่ปรึกษาด้านการจัดการระบบการผลิตและเทคโนโลยี IoT [SIMTEC] และ Smart Monodzukuri
  • อาจารย์ สมชาย อยู่คุ้ม : ผู้เชี่ยวชาญระบบการผลิตแบบโตโยต้า
  • อาจารย์ อดิเรก ทิฆัมพรเพริศ : ผู้เชี่ยวชาญระบบโลจิสติกส์แบบโตโยต้า
  • อาจารย์ พรพรหม อธีตนันท์ : นักวิจัยและพัฒนา Digital Lean Learning Factory [NECTEC]
  • ดร. ธนกร ตันธนวัฒน์ : นักวิจัยและพัฒนา Digital Lean Learning Factory [NECTEC]
  • ดร. ธีรเชษฐ์ สูรพันธุ์ : นักวิจัยและพัฒนา IIoT Connectivity and Interoperability Testbed [NECTEC]
  • อาจารย์ เอกชาติ หัตถา : นักวิจัยและพัฒนา Digital Lean Learning Factory [NECTEC ]