เทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจดิจิทัล

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจดิจิทัล เป็นหลักสูตรมุ่งผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความช านาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศส าหรับงานธุรกิจดิจิทัล อุตสาหกรรม ที่มี ความสามารถในการออกแบบ วิเคราะห์ ด าเนินการ บริหารจัดการระบบสารสนเทศในองค์กร รวมถึงมีความสามารถด้านการวิเคราะห์ ข้อมูล ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ได้อย่างสร้างสรรค์สามารถสื่อสารและท างานร่วมกับผู้อื่นในองค์กรได้เป็นอย่างดี และมีความพร้อมที่จะ พัฒนาตนเองให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีด้านนี้ที่มีการพัฒนาเป็นไปอย่างรวดเร็ว

อาจารย์ประจำหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต : สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจดิจิทัล

...
อ.ภัสมะ เจริญพงษ์
...
อ.กานดา ทิวัฑฒานนท์
...
ผศ. เกษม ทิพย์ธาราจันทร์
...
อ.นุชนารถ พงษ์พานิช
...
ดร.ธันยพร กณิกนันต์
...
ดร. สรมย์พร เจริญพิทย์

อาจารย์สังกัดหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต : สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจดิจิทัล

...
อ.ฐนสิน ญาติสูงเนิน

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ชื่อเต็ม (ภาษาไทย)

  • วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจดิจิทัล)

ชื่อย่อ (ภาษาไทย)

  • วท.บ. (เทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจดิจิทัล)

ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ)

  • Bachelor of Science (Digital Business Information Technology)

ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ)

  • B.Sc. (Digital Business Information Technology)

โอกาสในการประกอบอาชีพ

  1. นักวิเคราะห์ระบบด้านธุรกิจ (Business System Analyst)
  2. นักพัฒนาซอฟต์แวร์ด้านธุรกิจ (Business Software Developer)
  3. นักจัดการระบบสารสนเทศ (Information System Manager/Administrator)
  4. ที่ปรึกษาระบบสารสนเทศ (Information System Consultancy)
  5. ผู้ประเมินระบบสารสนเทศ (Information System Evaluator)
  6. นักจัดการการตลาดออนไลน์ (Online Marketing Manager)
  7. ผู้จัดการโครงการ (Project Manager)
  8. นักวิเคราะห์ระบบธุรกิจอัจฉริยะ (Business Intelligence Analyst)
  9. ผู้ตรวจสอบด้านสารสนเทศ (IT Auditor)
  10. นักวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analyst)
  11. นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Scientist)
  12. ประกอบธุรกิจส่วนตัวทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจดิจิทัล
  13. ศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นทั้งในประเทศและต่างประเทศ

โครงสร้างหลักสูตร

จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร (ไม่น้อยกว่า) 131 หน่วยกิต
(1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 33 หน่วยกิต
1.1 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์หรือสังคมศาสตร์ 3 หน่วยกิต
1.2 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร 6 หน่วยกิต
1.3 กลุ่มวิชาภาษา 24 หน่วยกิต
(2) หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 92 หน่วยกิต
2.1 วิชาแกน 18 หน่วยกิต
2.2 วิชาเฉพาะด้าน 52 หน่วยกิต
2.2.1 กลุ่มประเด็นด้านองค์การและระบบสารสนเทศ 9 หน่วยกิต
2.2.2 กลุ่มเทคโนโลยีเพื่องานประยุกต์ 22 หน่วยกิต
2.2.3 กลุ่มเทคโนโลยีและวิธีการทางซอฟต์แวร์ 12 หน่วยกิต
2.2.4 กลุ่มโครงสร้างพื้นฐานของระบบ 9 หน่วยกิต
2.3 วิชาเลือก - หน่วยกิต
2.3.1 แผนสหกิจศึกษา 15 หน่วยกิต
2.3.2 แผนฝึกงานและทำโครงงาน 18 หน่วยกิต
2.4 วิชาประสบการณ์ภาคสนาม - หน่วยกิต
2.4.1 แผนสหกิจศึกษา 7 หน่วยกิต
2.4.2 แผนฝึกงานและทำโครงงาน 4 หน่วยกิต
(3) หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต

แผนการศึกษา